ขะแข่น, ขะแข้น หมายถึง (โบ; กลอน) ว. แข้น, แข็ง, เขียนเป็น ขแข่น ก็มี เช่น สองอ่อนโอ้อาดูร ร้อนแสงสูรย์ขแข่น. (ม. คําหลวง กุมาร), (ม. คําหลวงกุมาร), ร้อนขะแข้น. (ม. คําหลวง กุมาร).
(โบ; กลอน) ว. แข้น, แข็ง, เขียนเป็น ขแข่น ก็มี เช่น สองอ่อนโอ้อาดูร ร้อนแสงสูรย์ขแข่น. (ม. คําหลวง กุมาร), (ม. คําหลวงกุมาร), ร้อนขะแข้น. (ม. คําหลวง กุมาร).
ดู กระแจะ ๒.
(ถิ่น) ก. กระแทก, กระทบโดยแรง, กระทุ้ง, เช่น ขะแถกแทงทอท่ยวเขาส้ยมส่ยวยงงมี. (ม. คําหลวง มหาราช).
(ถิ่น-อีสาน) น. อวัยวะส่วนหลังของลำแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า เช่น ตัว ๑ ขบขะน่อง. (ม. สำนวนอีสาน ชูชก), กระน่องหรือกระหน่อง ก็เรียก.
(ถิ่น-อีสาน) น. อวัยวะส่วนหลังของลำแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า เช่น ตัว ๑ ขบขะน่อง. (ม. สำนวนอีสาน ชูชก), กระน่องหรือกระหน่อง ก็เรียก.
น. ทะนาน.
น. เขน็ด.